นูเรีย จากประเทศสเปน ผู้ใช้งานเครื่องนำเสียงผ่านกระดูก ADHEAR (แบบไม่ผ่าตัด) มาแล้ว 3 ปี ปัจจุบันเธออายุ 24 ปี ซึ่งตอนที่เธอมาให้สัมภาษณ์ คือช่วงเวลาที่เธอพึ่งเริ่มใช้งานได้ไม่กี่เดือน และกำลังศึกษาในสาขาการวิเคราะห์ทางชีวการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยบาร์เซโลนา ซึ่งเธอมาจากเมืองเล็กๆ ที่อยู่ไม่ไกลจากบาร์เซโลนา ในเวลาว่างเธอมักจะออกไปเที่ยวกับเพื่อนๆ อ่านหนังสือ และเล่นกีตาร์ เธอชอบที่จะออกไปเจอสิ่งแปลกใหม่ […]
ถ่านทั่วไปกับถ่านเครื่องช่วยฟังต่างกันอย่างไร ?   ถ่านหรือแบตเตอรี่ทั่วไป มีมากมายหลายชนิดและหลายขนาด ถ่านแต่ละชนิดจะมีประสิทธิภาพแตกต่างกันออกไปตามขนาดและชนิดของการใช้งาน ซึ่งขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่จะใช้ร่วมว่าเหมาะสมกับถ่านชนิดใด โดยถ่านทั่วไปส่วนใหญ่จะมีส่วนประกอบหลักคือ สารตะกั่ว สารแมงกานีส สารแคดเมียม สารนิเกิล สารปรอท กรดซัลฟิวริก และยังมีสารเคมี สารพิษอื่นๆที่ทำปฏิกิริยา สารสามารถระเหยเข้าสู่ร่างกายได้โดยผ่านการหายใจและซึมเข้าผิวหนัง ถ่านเครื่องช่วยฟัง เป็นถ่านที่ใช้สำหรับเครื่องช่วยฟังโดยเฉพาะ เครื่องช่วยฟังนั้น […]
เมื่อตอนเขาอายุได้ 11 ปี วิลเลียมจากประเทศสหราชอาณาจักร เขาเริ่มใช้ ADHEAR ซึ่งเป็นเครื่องนำเสียงผ่านกระดูกสำหรับผู้ที่มีการนำเสียงบกพร่อง ตอนนี้วิลเลียมใช้งานมาแล้ว 5 ปี เขาจึงอยากจะมาร่วมแชร์ประสบการณ์เกี่ยวกับอุปกรณ์และช่วงเวลาที่เปลี่ยนผันของชีวิตเขา ผมชื่อวิลเลียม อายุ 16 ปี และอาศัยอยู่ในสหราชอาณาจักร ตอนอายุ 2 ขวบ ผมได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งท่อน้ำดีซึ่งทำให้ผมสูญเสียการได้ยินในหูข้างซ้าย […]
ผ่านไปแล้วกับงาน “มหกรรมรวมพลคนบางแสนรักษ์สุขภาพ” ประจำปี 2566 ครั้งที่ 4 (Bangsaen Health Festival 2023) ในระหว่างวันที่ 27-28 มกราคม 2566 ณ เทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี ซึ่งเป็นการร่วมมือกันระหว่างองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (JICA) เมืองแสนสุข และหน่วยงานจากหลายองค์กร เพื่อร่วมกันสร้างพลังการรักษ์สุขภาพในหลากหลายรูปแบบ […]
โรเบิร์ต ผู้ใช้งานจากออสเตรีย เขาได้ตัดสินใจใช้ ADHEAR ซึ่งเป็นวิธีการนำเสียงผ่านกระดูก โดยไม่ต้องผ่าตัดใด ๆ ซึ่งหลังจากที่ได้เขาใช้ไปได้สักพักก็รู้สึกทึ่งกับผลลัพธ์ที่ได้รับ  และเขาได้เล่าถึงประสบการณ์ของเขา ว่าทำไมจึงเชื่อว่า “การมี ADHEAR ในชีวิตนั้น เป็นสิ่งสำคัญ”   คุณใช้งาน ADHEAR มานานแค่ไหนแล้ว? หลังใช้งานไปรู้สึกเป็นอย่างไร? ในตอนแรกผมเริ่มใส่ […]
เรื่องราวของ Markus Zoitl ดนตรีมีบทบาทสำคัญมากในชีวิตของ Markus Zoitl ตั้งแต่วัยเด็ก เมื่ออายุได้ 16 ปี นักเปียโนผู้คลั่งไคล้ เขาได้รับการฝึกฝนให้เป็นนักสร้างออร์แกน หลังจากมีประสบการณ์จนเป็นมืออาชีพมาหลายปี แสดงให้เห็นชัดเจนแล้วว่าสำหรับเขา “เสียงคือสิ่งที่ฉันต้องการมุ่งความสนใจ และเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านนี้”  สูญเสียการได้ยินและหูอื้อ …เมื่อสามปีที่แล้ว ในขณะที่อยู่บนจุดสูงสุดในอาชีพของเขา วันหนึ่ง […]
MED-EL เป็นผู้นำเทคโนโลยีด้านผลิตภัณฑ์ เพื่อแก้ไขปัญหาการได้ยินมากกว่าสองทศวรรษ MED-EL มีความก้าวล้ำทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเกี่ยวกับ “ระบบการสูญเสียการได้ยิน” เป็นอย่างมาก เรรามุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการวิจัย และพัฒนาอย่างเข้มข้น และต่อเนื่องมาโดยตลอดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยมีกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย รองรับปัญหาการได้ยินทุกประเภทเพื่อมอบการแก้ไขปัญหาการสูญเสียการได้ยินให้กับผู้ที่มีปัญหาการได้ยินในแต่ละคนได้อย่างเหมาะสมสูงสุด   แนะนำผลิตภัณฑ์แก้ไขปัญหาการได้ยินจาก MED-EL แบ่งตามชนิด และลักษณะการเสื่อม   I. […]
โดยปกติแล้วหากผู้ป่วยไปพบแพทย์เร็ว และได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม มีโอกาสสูงที่การได้ยินอาจกลับมาเป็นปกติได้ (ส่วนใหญ่การได้ยินมักจะดีขึ้น ภายใน 2 สัปดาห์แรก)  แต่หากไปรับการรักษาช้าจนส่งผลให้เกิดอาการถาวร ทำให้เหลือการได้ยินเพียงหูเดียว ก็คงจะส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันไม่ใช่น้อย ไม่สามารถแยกแยะทิศทางของเสียงได้ มีความลำบากในการสนทนา ต้องคอยหันหูข้างที่ดีไปฟังเสมอ มีความลำบากในการสื่อสารในที่ที่มีเสียงรบกวน ฟังแยกเสียงคำพูดได้ไม่ดี ฟังผิดเพี้ยนบ่อยครั้ง ไม่มั่นใจในการสนทนากับผู้อื่น มีความกังวลว่าตนเองจะฟังผิด และสื่อสารผิดพลาดไม่ตรงประเด็น บางคนอาจมีความเครียด […]
เครื่องประมวลเสียงเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับรับเสียงเพื่อนำไปประมวลผลและส่งสัญญาณไปยังประสาทหูเทียมที่ฝังอยู่ภายในเพื่อกระตุ้นเส้นประสาทการได้ยิน ฉะนั้นหากเครื่องประมวลเสียงมีการทำงานที่ผิดปกติ ก็จะส่งผลต่อการได้ยินของผู้ใช้อย่างแน่นอน ซึ่งอาการของเครื่องประมวลเสียงที่เริ่มทำงานผิดปกติจะสามารถสังเกตได้ดังนี้   1. เปิดเครื่องแล้วไฟสถานะบนเครื่องไม่ติด ทุกครั้งที่เปิดเครื่องประมวลเสียง จะมีไฟสถานะแสดงการเปิดเครื่องทุกครั้ง ซึ่งไฟจะกระพริบตามจำนวนโปรแกรมที่ใช้ไว้ ณ ปัจจุบัน เช่น ก่อนปิดเครื่องใช้โปรแกรม 2 อยู่ หากทำการปิดเครื่องและเปิดเครื่อง ไฟสถานะก็จะกระพริบ 2 ครั้ง […]
สอดเล็บของคุณเข้าไปในช่อง (บริเวณหมายเลข 1 ดังภาพ) ซึ่งอยู่ระหว่างเครื่องประมวลเสียงและฝาครอบ จากนั้นค่อยๆ ยกฝาครอบขึ้น เพื่อถอดฝาครอบออก วางฝาครอบชิ้นใหม่ ด้านบนเครื่องประมวลเสียงและกดลงจนกระทั่งเข้าที่ ฝาครอบของเรามีหลากหลายลวดลาย เพื่อให้คุณสามารถเลือกออกแบบ RONDO2  ของคุณให้กลมกลืน หรือโดดเด่น ตามที่คุณต้องการ ดูการออกแบบทั้งหมดที่นี่ หมายเหตุ คุณควรเปลี่ยนฝาครอบไมโครโฟนทุก ๆ […]
การทำตามคำแนะนำเรื่องการดูแลและบำรุงรักษาเครื่องประมวลเสียงขั้นพื้นฐานที่สำคัญเหล่านี้ จะช่วยส่งเสริมการทำงานเครื่อง ADHEAR ของคุณ การทำความสะอาดทั่วไป ตัวเครื่อง ADHEAR ให้ทำความสะอาดที่บริเวณด้านนอกของอุปกรณ์เท่านั้น โดยเช็ดทำความสะอาดเครื่องประมวลเสียงด้วยผ้าขนนุ่มอย่างนุ่มนวล ห้ามล้างตัวเครื่องด้วยน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้น้ำเข้าสู่เครื่องประมวลเสียง Coupling plate ควรทำความสะอาดทุกสัปดาห์ด้วยแปรงทำความสะอาดเพื่อขจัดสิ่งสกปรกออกจากด้านในร่องกลมของ Coupling plate  และควรทำความสะอาดช่องว่างระหว่างตัวเครื่องและ Coupling plate ด้วยแปรงทำความสะอาดเช่นเดียวกัน   […]
  ในปัจจุบันเทคโนโลยีมีความก้าวหน้าเพื่อให้ทันตามยุคสมัยอยู่ตลอดเวลา ทำให้อุปกรณ์ช่วยการได้ยินมีความหลากหลายมากขึ้น ซึ่งในแต่ละชนิดนั้นจะมีฟังก์ชั่นระบบการทำงาน ข้อบ่งชี้ รวมถึงข้อจำกัดในการใช้งานที่แตกต่างกัน จึงจำเป็นที่จะต้องเลือกใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมกับความผิดปกติในการได้ยินและระดับการสูญเสียการได้ยิน เพราะฉะนั้นผู้ที่มีความผิดปกติทางการได้ยินทุกรายจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยจากโสต ศอ นาสิกแพทย์ หรือนักแก้ไขการได้ยินก่อนที่จะใช้อุปกรณ์ช่วยการได้ยิน ซึ่งอุปกรณ์ช่วยการได้ยินสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ อุปกรณ์ช่วยการได้ยินที่ใช้ภายนอก อุปกรณ์ช่วยการได้ยินที่มีส่วนประกอบฝังอยู่ในร่างกายบริเวณหูและส่วนที่อยู่ภายนอกหู และ อุปกรณ์ช่วยการได้ยินอื่นๆ ในที่นี้จะขอพูดเจาะลึกถึง […]