โรคเชื้อราในช่องหู (Otomycosis) เป็นโรคหูชั้นนอกอักเสบจากเชื้อรา ซึ่งพบภาวะแทรกซ้อนในหูชั้นกลางได้น้อย และไม่เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต สามารถเกิดขึ้นได้บ่อย และเป็นซ้ำได้สูง โดยการติดเชื้อราที่หูส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อรา Aspergillus และ เชื้อรา Candida 1. อาการ มีอาการคันหู  เมื่อใช้ไฟส่องในรูหู อาจพบขุยขาวๆ ที่ผิวหนังรอบ ๆ รูหู […]
  “ขี้หู” คือสิ่งที่ร่างกายของเราสร้างขึ้นมาเอง เพื่อเคลือบผิวหนังในบริเวณช่องหูชั้นนอก  ซึ่งขี้หู ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ไขมัน เซลล์เยื่อบุผิวหนังที่หลุดลอกในรูหู และสารคัดหลั่งที่ผลิตจากต่อมขี้หูที่อยู่ในบริเวณรูหู   ประโยชน์ของขี้หู           “ขี้หู” […]
1. เสียงคืออะไร? เสียงเป็นคลื่นเชิงกลที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ วัตถุสามารถอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ(อากาศ) ก็ได้ คลื่นเสียงทำให้อนุภาคของวัตถุเกิดการอัดตัวและขยายตัวแล้วจึงส่งผ่านพลังงานเข้ามาสู่หูของเรา หลังจากนั้นกลไกการทำงานของหูจะทำหน้าที่ขยายเสียงให้เราได้ยินและแปลความหมายด้วยระบบการทำงานของสมอง จะเห็นได้ว่าเสียงเริ่มต้นที่แหล่งกำเนิด ผ่านตัวกลางและเดินทางมาสู่หูของเรา เสียงนั้นมีประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตของเราอย่างมาก ทั้งด้านการสื่อสาร เตือนอันตราย และการรับรู้ทิศทางของเสียง แต่ถ้าเสียงนั้นดังเกินไปก็จะทำให้เกิดอันตรายต่อหูเราได้เช่นกัน   2. เมื่อไหร่จึงเรียกว่าเสียงดังเกินไป? สภาพแวดล้อมในชีวิตประจำวันของเรามีความหลากหลาย […]
ได้ยินเสียงดังจากในหู ควรทำอย่างไร?  คนรอบข้างของคุณได้ยินเสียงนี้เหมือนกันหรือไม่? ถ้าไม่ แสดงว่าคุณมีอาการเสียงดังในหู อาการเสียงดังในหู คือ การที่คุณได้ยินเสียงบางอย่าง แต่ในความจริงแล้วไม่มีเสียงใด ๆ เกิดขึ้น เสียงดังในหูเกิดจากการสร้างเสียงขึ้นมาเองจากเส้นประสาทการได้ยิน เสียงที่เกิดขึ้นจากอาการเสียงดังในหูมีหลากหลายรูปแบบ เช่น เสียงวิ้ง เสียงลม เสียงคลื่น เสียงฮัม เสียงซ่า เสียงจิ้งหรีด […]
  เสียงรอบตัวที่เราได้ยินในชีวิตประจำวันนั้น มีลักษณะเสียงที่แตกต่างกันทั้งเรื่องความถี่ และความดัง เพื่อความเข้าใจที่ง่าย สามารถศึกษาได้จากตัวอย่างเสียงที่แสดงในภาพดังภาพต่อไปนี้   ตัวอย่างเสียงที่เบา เสียงน้ำหยด เป็นเสียงที่จัดอยู่ในช่วงความถี่ต่ำ บริเวณ 125Hz – 250Hz และมีความดังประมาณ 10 เดซิเบล  เสียงใบไม้ปลิว จัดอยู่ในช่วงความถี่กลาง บริเวณ […]
ในยุคสมัยนี้ เราจะพบเห็นเครื่องอำนวยความสะดวกหน้าตาใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นมามากมาย ไม้แคะหูก็เช่นกัน ปัจจุบันได้มีผลิตออกมาจำหน่ายกันอย่างแพร่หลาย มีให้เลือกใช้หลากหลายรูปแบบ ทั้งแบบที่เป็นไม้แคะที่มีวัสดุเป็นเหล็ก(แบบดั้งเดิม) แบบระบบปั่นหูอัตโนมัติ หรือแบบที่มีระบบดูดขี้หูออกมาให้ด้วยก็ยังมี แต่ในความสะดวกสบายนี้ ก็อาจก่อให้เกิดอันตรายกับช่องหูของผู้ใช้งานได้ จากสาเหตุต่อไปนี้ ไม้แคะหูที่มีลักษณะแข็ง อาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บ หรือเกิดแผลในช่องหูได้  ไม้แคะหูที่มีความยาวกว่าขนาดของรูหู อาจทำให้แก้วหูทะลุได้ ไม้แคะหูที่มีขนาดใหญ่กว่ารูหู อาจทำให้เกิดการอักเสบภายในช่องหูได้ […]