แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

MED-EL เป็นผู้นำเทคโนโลยีด้านผลิตภัณฑ์ เพื่อแก้ไขปัญหาการได้ยินมากกว่าสองทศวรรษ

MED-EL มีความก้าวล้ำทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเกี่ยวกับ “ระบบการ สูญเสียการได้ยิน ” เป็นอย่างมาก เรามุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการวิจัย และพัฒนาอย่างเข้มข้น และต่อเนื่องมาโดยตลอดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยมีกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย รองรับปัญหาการได้ยินทุกประเภทเพื่อมอบการแก้ไขปัญหาการสูญเสียการได้ยินให้กับผู้ที่มีปัญหาการได้ยินในแต่ละคนได้อย่างเหมาะสมสูงสุด

 

แนะนำผลิตภัณฑ์แก้ไขปัญหาการได้ยินจาก MED-EL แบ่งตามชนิด และลักษณะการเสื่อม

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

1. สูญเสียการได้ยิน ชนิดประสาทหูเสื่อมในระดับรุนแรง หรือ หนวก (Severe-to-Profound Sensorineural Hearing Loss)

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

1. แนะนำใช้ประสาทหูเทียม
(ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ต้องผ่าตัดฝังภายใน และส่วนรับสัญญาณภายนอก)

2. เหมาะสำหรับผู้ที่มีระดับการได้ยินอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง

3. เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ได้ประโยชน์จากการใช้เครื่องช่วยฟัง

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

 

2. สูญเสียการได้ยิน ชนิดประสาทหูเสื่อมเฉพาะบริเวณความถี่สูง (High Frequency Sensorineural Hearing Loss)

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

1. แนะนำใช้ประสาทหูเทียมชนิด EAS
(Electric Acoustic Stimulation เป็นเทคโนโลยีผสมผสานระหว่างเครื่องช่วยฟังและประสาทหูเทียม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ต้องผ่าตัดฝังภายในเพื่อช่วยเหลือการได้ยินที่บริเวณความถี่สูง และส่วนรับสัญญาณภายนอกที่ทำหน้าที่รับเสียงและขยายเสียงสำหรับช่วงความถี่ต่ำ)

2. เหมาะสำหรับผู้ที่มีระดับการได้ยินอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง

3. เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่พึงพอใจคุณภาพเสียงจากเครื่องช่วยฟัง

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

 

3. สูญเสียการได้ยิน ชนิดประสาทหูเสื่อมในระดับเล็กน้อย ถึงรุนแรง (Mild-to-Severe Sensorineural Hearing Loss)

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

1. แนะนำใช้ผลิตภัณฑ์หูชั้นกลางเทียม (VIBRANT SOUNDBRIDGE SYSTEM ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ต้องผ่าตัดฝังภายใน และส่วนรับสัญญาณภายนอก)

2. เหมาะสำหรับผู้ที่มีระดับการได้ยินอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง

3. เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 5 ปีขึ้นไป

4. เหมาะสำหรับผู้ที่มีหูชั้นกลางปกติ

5. เหมาะสำหรับผู้ที่มีคะแนนความสามารถในการรับฟังคำพูด 50% เป็นอย่างน้อย

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

 

4. สูญเสียการได้ยิน ชนิดการนำเสียงเสื่อม หรือ สูญเสียการได้ยินชนิดผสม (Conductive Hearing Loss / Mixed Hearing Loss)

สำหรับการสูญเสียการได้ยินชนิดนี้มีทางเลือกถึง 3 วิธี ดังต่อไปนี้

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

1. ใช้ผลิตภัณฑ์หูชั้นกลางเทียม (VIBRANT SOUNDBRIDGE SYSTEM)
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ต้องผ่าตัดฝังภายใน และส่วนรับสัญญาณภายนอก

  • เหมาะสำหรับผู้ที่มีระดับการได้ยินทางกระดูกอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง และมีระดับการได้ยินทางอากาศอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีเทา
  • เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 5 ปีขึ้นไป

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

 

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

2. ใช้ผลิตภัณฑ์รับฟังเสียงผ่านทางกระดูกชนิดผ่าตัดฝัง (BONEBRIDGE SYSTEM)
ประกอบด้วย2ส่วน คือ ส่วนที่ต้องผ่าตัดฝังภายใน และส่วนรับสัญญาณภายนอก

  • เหมาะสำหรับผู้ที่มีระดับการได้ยินทางกระดูกอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง และมีระดับการได้ยินทางอากาศอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีเทา
  • เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 5 ปีขึ้นไป 

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

 

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

3. ใช้ผลิตภัณฑ์รับฟังเสียงผ่านทางกระดูกชนิดไม่ต้องผ่าตัดฝัง (ADHEAR SYSTEM)
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ แผ่นแปะหลังหู และเครื่องประมวลเสียง ใช้งานง่ายเพียงแค่ 3 Step ก็สามารถช่วยให้คุณได้ยินเสียงได้โดยง่ายดาย

   Step 1: Stick (แปะแผ่น Adhesive adaptor ลงบนผิวหนังด้านหลังใบหู)

   Step 2: Click (นำเครื่องประมวลเสียงประกบเข้ากับแผ่น Adhesive adaptor)

   Step 3: Hear (ได้ยินเสียงในทันที)

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

  •  เหมาะสำหรับผู้ที่มีการสูญเสียการได้ยินชนิดการนำเสียงเสื่อม ทั้งแบบที่เป็นข้างเดียว และแบบที่เป็นทั้งสองหู  (Unilateral or Bilateral Conductive Hearing Loss)
  • เหมาะสำหรับผู้ที่มีระดับการได้ยินทางกระดูกอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง และมีระดับการได้ยินทางอากาศอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีเทา

 

 

 

5. หูหนวกข้างเดียว (Single-Sided Deafness)

สำหรับผู้ที่มีปัญหาหูไม่ได้ยิน1ข้าง มีทางเลือกถึง 3 วิธี ดังต่อไปนี้

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

1. ใช้ประสาทหูเทียม
(ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ต้องผ่าตัดฝังภายใน และส่วนรับสัญญาณภายนอก)

  •   โดยหูข้างที่หนวกมีระดับการได้ยินทั้งทางอากาศและกระดูกอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง (AFFECTED EAR)
  •   และหูอีกข้างที่ยังได้ยินอยู่ มีระดับการได้ยินทั้งทางอากาศและกระดูกอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง (CONTRALATERAL EAR)
  •   เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ได้ประโยชน์จากการใช้เครื่องช่วยฟัง

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

2.ใช้ผลิตภัณฑ์รับฟังเสียงผ่านทางกระดูกชนิดผ่าตัดฝัง (BONEBRIDGE SYSTEM)
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ต้องผ่าตัดฝังภายใน และส่วนรับสัญญาณภายนอก

  •   โดยหูข้างที่หนวกมีระดับการได้ยินทั้งทางอากาศและกระดูกอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง (AFFECTED EAR)
  •   และหูอีกข้างที่ยังได้ยินอยู่ มีระดับการได้ยินทั้งทางอากาศและกระดูกอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง (CONTRALATERAL EAR)
  •   เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 5 ปีขึ้นไป

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

 

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ

3.ใช้ผลิตภัณฑ์รับฟังเสียงผ่านทางกระดูกชนิดไม่ต้องผ่าตัดฝัง (ADHEAR SYSTEM)
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ แผ่นแปะหลังหู และเครื่องประมวลเสียง ใช้งานง่ายเพียงแค่ 3 step  ก็สามารถช่วยให้คุณได้ยินเสียงได้โดยง่ายดาย  

  •   โดยหูข้างที่หนวกมีระดับการได้ยินทั้งทางอากาศและกระดูกอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง (AFFECTED EAR)
  •   และหูอีกข้างที่ยังได้ยินอยู่ มีระดับการได้ยินทั้งทางอากาศและกระดูกอยู่ในบริเวณพื้นที่แรเงาสีแดง (CONTRALATERAL EAR)

 

แนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับแนะนำตัวช่วยสำหรับผู้ สูญเสียการได้ยิน ในแต่ละระดับ 

 

 

6. สูญเสียการได้ยิน ชนิดเส้นประสาทรับรู้การได้ยินผิดปกติ (Retrocochlear Hearing Loss / Neural Hearing Loss)

แนะนำใช้ประสาทหูเทียมชนิดฝังที่ก้านสมอง ABI (Auditory Brainstem Implant)

  • เหมาะสำหรับผู้ที่เส้นประสาทสมองคู่ที่8 ถูกทำลาย หรือ ฉีกขาดทั้งสองข้าง
  • เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่มีเส้นประสาทคู่ที่8 หรือผู้ที่มีโรคที่ทำให้หูชั้นในเสียหายจนใช้ประสาทหูเทียมแบบปกติไม่ได้
  • เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่มีหูชั้นใน หรือ ผู้ที่มีหูชั้นในตีบเล็กอย่างรุนแรง
  • กรณีผู้ที่มีเนื้องอกชนิด NF2 ศัลยแพทย์จะเป็นผู้ประเมินสถานการณ์และตัดสินใจในการผ่าตัดฝัง ABI เป็นรายบุคคล

 

 

 

สามารถอ่านบทความเกี่ยวกับโรคหูเพิ่มเติมได้ที่ บทความ

image by Freepik

Line Official : @hearlifeth

Facebook: https://www.m.me/hearlifethai

หรือโทร 02-693-9411

Tags

No responses yet

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *