วันที่ 21-22 กันยายน พ.ศ. 2566 เวลา 9:00-16:30 น. ที่ผ่านมา ทางบริษัท เมดเอล เมดดิคัล อิเล็คโทรนิกส์ จำกัด และบริษัท เฮียร์ไลฟ์ จำกัด ร่วมกับ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา ได้จัดทำโครงการ […]
ถ่านทั่วไปกับถ่านเครื่องช่วยฟังต่างกันอย่างไร ? ถ่านหรือแบตเตอรี่ทั่วไป มีมากมายหลายชนิดและหลายขนาด ถ่านแต่ละชนิดจะมีประสิทธิภาพแตกต่างกันออกไปตามขนาดและชนิดของการใช้งาน ซึ่งขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่จะใช้ร่วมว่าเหมาะสมกับถ่านชนิดใด โดยถ่านทั่วไปส่วนใหญ่จะมีส่วนประกอบหลักคือ สารตะกั่ว สารแมงกานีส สารแคดเมียม สารนิเกิล สารปรอท กรดซัลฟิวริก และยังมีสารเคมี สารพิษอื่นๆที่ทำปฏิกิริยา สารสามารถระเหยเข้าสู่ร่างกายได้โดยผ่านการหายใจและซึมเข้าผิวหนัง ถ่านเครื่องช่วยฟัง เป็นถ่านที่ใช้สำหรับเครื่องช่วยฟังโดยเฉพาะ เครื่องช่วยฟังนั้น […]
เบอร์ทัส จากแอฟริกาใต้ตัดสินใจในการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมหลังจากที่ได้รับการวินิจฉัยว่า เขาสูญเสียการได้ยินระดับรุนแรงมากหรือหูหนวกในวัย 66 ปี ในบทความนี้เขาได้มาพูดถึง ทำไมเขาถึงตัดสินใจผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม ประสาทหูเทียมช่วยให้ชีวิตเขาดีขึ้นอย่างไร และความปรารถนาของผมสำหรับอนาคต ผมชื่อ เบอร์ทัส มาจากพริทอเรีย ประเทศแอฟริกาใต้ ก่อนหน้าที่ผมจะได้รับประสาทหูเทียม การที่ผมไม่ได้ยินเสียงนั้นทำให้ผมต้องได้ออกจากงาน ซึ่งต่อมาผมก็ได้เริ่มต้นธุรกิจใหม่โดยการขายและสนับสนุนโซลูชันซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งก็เป็นไปได้ดี และในเวลาว่าง ผมก็มักจะไปเล่นกอล์ฟ ปั่นจักรยาน […]
เครื่องช่วยฟัง และ ประสาทหูเทียม เป็นอุปกรณ์ช่วยเหลือด้านการได้ยินเสียงสำหรับผู้ที่สูญเสียการได้ยิน ซึ่งทั้ง 2 วิธีมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ตั้งแต่เรื่องระดับการสูญเสียการได้ยินของผู้ใช้งาน การวินิจฉัยของแพทย์ที่ทำการรักษา ลักษณะเสียงที่ผู้ใช้งานจะได้ยิน ไปจนถึงกระบวนการทำงานของอุปกรณ์ เครื่องช่วยฟังและประสาทหูเทียมทำงานอย่างไร? เครื่องช่วยฟัง คือการขยายเสียงให้ดังขึ้น หากคุณมีการสูญเสียการได้ยินในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง เครื่องช่วยฟังจะทำให้คุณได้ยินเสียงดังขึ้น ซึ่งเสียงที่ผ่านการขยายเสียงจากเครื่องช่วยฟังจะเข้าสู่ช่องหูชั้นนอก ไปยังหูชั้นกลาง หูชั้นใน […]
ในชีวิตประจำวัน ดนตรีถือเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนเราเสมอมา ไม่ว่าจะตอนอาบน้ำ กินข้าว หรือไปเดินห้างก็ยังมีเสียงเพลงที่เปิดเพื่อสร้างบรรยากาศ ความสุข ความสนุกแก่คนเรา แล้วสำหรับผู้ใช้งานประสาทหูเทียมจะสามารถฟังเพลง และสนุกไปกับเสียงดนตรีได้ไหม? คำตอบคือ “ได้” จะเป็นอย่างไรหากโลกเราไม่มีเสียงเพลง ชีวิตที่ปราศจากดนตรีเป็นสิ่งที่มองภาพไม่ออกเลยว่าจะเป็นอย่างไร เพราะดนตรี คือ การมีส่วนร่วมกันของสิ่งต่างๆ บนโลกใบนี้ให้เชื่อมเข้ากันได้ผ่านเสียงเพลง/เสียงดนตรี ซึ่งมันสามารถกระตุ้นและปลอบโยนคนเราได้ในแต่ละช่วงเวลา รวมถึงเชื่อมโยงเราระหว่างความแตกต่างทางอายุ […]
ทุกวันนี้หน้าจอโทรศัพท์ ทีวี หรือ คอม ต่างกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของคนเราไปแล้ว เช่น โทรคุยกับเพื่อน อ่านหนังสือ ดูละคร/ภาพยนตร์ ฟังเพลง เล่นเกม วาดรูป เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันอุปกรณ์เหล่านี้ต่างถูกนำมาใช้งานอย่างแพร่หลาย และทำให้มีความสะดวกสบายแก่คนเราเป็นอย่างมากในการพัฒนาทักษะ ความสามารถ หน้าที่การงาน รวมถึงความสุขในด้านต่างๆ หากเราใช้ในทางที่เป็นประโยชน์ และสำหรับเด็กๆ […]
คุณจูเนียร์ แม้ว่าหูข้างซ้ายของเขาจะสูญเสียการได้ยินในระดับหูหนวก หูข้างขวาไม่ได้ยินในระดับรุนแรง และเขาก็รู้ตัวตั้งแต่เด็กว่าเขารักในเสียงดนตรี และจะไม่ทิ้งมันไปโดยเด็ดขาด ทุกวันนี้ดนตรียังคงมีบทบาทสำคัญในชีวิตของเขา ทั้งเวลาส่วนตัวหรืออาชีพ เขาบอกกับเราว่า “ประสาทหูเทียม ช่วยเปลี่ยนแปลงชีวิตของเขาในฐานะนักดนตรีที่ประสบความสำเร็จได้อย่างไร” สวัสดีครับ ผมชื่อจูเนียร์ มาจากประเทศบราซิล ปัจจุบันทำงานเป็นครูสอนเปียโน คีย์บอร์ด เทคนิคการใช้เสียง และทฤษฎีดนตรี ซึ่งทำงานเกี่ยวกับดนตรีมานานกว่า 25 ปีแล้ว […]
การสื่อสารในที่ที่มีผู้คนหนาแน่นหรือมีเสียงรบกวนรอบข้าง อาจเป็นเรื่องยากแม้แต่กับผู้ที่มีการได้ยินปกติ และสำหรับผู้ใช้งานเครื่องประสาทหูเทียมหากอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้ จะทำให้พวกเขาฟังได้ยากขึ้นเช่นกัน นี่จึงเป็นเหตุผลที่พวกเขารู้สึกหงุดหงิดและไม่ชอบในระหว่างการสนทนา เราในฐานะคนในครอบครัว หรือเพื่อนของผู้ใช้งานเครื่องประสาทหูเทียม หรือผู้ที่สูญเสียการได้ยิน จึงมีบางอย่างที่คุณสามารถทำได้เพื่อช่วยให้การสื่อสารนั้นง่ายขึ้น ต่อไปนี้คือเคล็ดลับ 5 ข้อที่คุณสามารถทำได้คือ 1. ถามเขาว่าวิธีไหนที่จะช่วยได้บ้าง ถามคนในครอบครัวของคุณว่าพวกเขาต้องการให้สื่อสารอย่างไร คุณสามารถทำอะไรได้บ้างเพื่อให้พวกเขาเข้าใจได้ง่ายขึ้น ไม่มีวิธีใดวิธีหนึ่งที่เหมาะสม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องถามพวกเขาเพื่อช่วยให้ช่วยได้ตรงตามความเหมาะสมของเขา 2. ปรับสภาพแวดล้อมของคุณ […]
กลับมาสู่ซีรีส์ “การฟื้นฟูการฟังที่บ้านสำหรับผู้ใหญ่” ในตอนนี้เราจัดทำขึ้นเพื่อให้คำแนะนำและเป็นแหล่งเรียนรู้วิธี เพื่อบรรลุเป้าหมายในการสวมใส่เครื่องประมวลเสียงให้ได้ในทุกๆ วัน เป้าหมายการฟังที่ 1: สวมใส่เครื่องประมวลเสียงของคุณได้ในทุกๆ วัน หลังตื่นนอนการสวมใส่เครื่องประมวลเสียงของคุณ ในทุกๆ ชั่วโมง ถือเป็นสิ่งแรกๆ ที่คุณต้องทำให้ได้ เพื่อที่จะก้าวไปสู่เป้าหมายการฟังในขั้นถัดไป คุณสามารถดูได้ว่า John ผู้ใช้ประสาทหูเทียมมีพัฒนาการอย่างไรในการสวมเครื่องประมวลเสียงตลอดทั้งวันใน “การฟื้นฟูการฟังที่บ้านสำหรับผู้ใหญ่” ตอนนี้เรายังมีเคล็ดลับที่จะช่วยให้คุณบรรลุเป้าหมายนี้ได้เร็วขึ้น […]
ผู้ใช้งานเครื่องประสาทหูเทียม MED-EL ที่เข้าร่วมงานวิจัย 9 ใน 10 คน กล่าวว่า “พวกเขาฟังเพลงผ่านเครื่องประสาทหูเทียมแล้วรู้สึกว่าเสียงเพราะ” ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการออกแบบเครื่องประสาทหูเทียมของเรา ซึ่งเลียนแบบการได้ยินให้ใกล้เคียงกับธรรมชาติ แต่การฝึกฝนก็ยังคงเป็นสิ่งจำเป็นเช่นกัน ยิ่งคุณฟังเพลงมากเท่าไหร่ คุณก็จะยิ่งรู้สึกเพลิดเพลินไปกับเสียงเพลงมากขึ้นเท่านั้น ไม่มีคำว่าเร็วเกินไป หรือ สายเกินไปที่จะเริ่มฝึกฟังเสียงดนตรีผ่านเครื่องประสาทหูเทียม ดังนั้น นี่คือเคล็ดลับง่ายๆ […]
ผ่านไปแล้วกับงาน “มหกรรมรวมพลคนบางแสนรักษ์สุขภาพ” ประจำปี 2566 ครั้งที่ 4 (Bangsaen Health Festival 2023) ในระหว่างวันที่ 27-28 มกราคม 2566 ณ เทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี ซึ่งเป็นการร่วมมือกันระหว่างองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (JICA) เมืองแสนสุข และหน่วยงานจากหลายองค์กร เพื่อร่วมกันสร้างพลังการรักษ์สุขภาพในหลากหลายรูปแบบ […]
เนื่องในโอกาสเริ่มต้นปีใหม่ เว้นว่างเป้าหมายของคุณในปีใหม่นี้อีกสัก 2-3ข้อได้ไหม? เนื่องจากนี่เป็นโอกาสที่ดีในการตั้งเป้าหมายการฟังให้กับตัวเอง เคล็ดลับในการบรรลุเป้าหมาย คือการแบ่งเป้าหมายใหญ่ออกเป็นข้อย่อยๆ ต่อไปนี้คือเป้าหมาย 5 ข้อที่ผู้ใช้ประสาทหูเทียมสามารถลองนำไปตั้งเป้าหมายเพิ่มเติมได้ เป้าหมายที่ 1: เพิ่มเวลาในการสวมใส่เครื่องประมวลเสียงของคุณ คุณสวมใส่เครื่องประมวลเสียงกี่ชั่วโมงต่อวัน สามารถเพิ่มขึ้นได้อีกหรือไม่? เราทราบดีว่าเมื่อผู้ใหญ่สวมเครื่องประมวลเสียง เป็นเวลา 10 ชั่วโมงต่อวันหรือมากกว่านั้น พวกเขาจะสามารถรับรู้คำพูดได้ดีขึ้น และทราบหรือไม่ […]